Requirements of standard
According to the requirements of TIS24-2548(2005) Thailand Industrial Standard for Steel Bar for Reinforced Concrete : Deformed bar in the […]
According to the requirements of TIS24-2548(2005) Thailand Industrial Standard for Steel Bar for Reinforced Concrete : Deformed bar in the […]
Requirements of standard According to the requirements of TIS24-2548(2005) Thailand Industrial Standard for Steel Bar for Reinforced Concrete : Deformed […]
Someone may doubt about “T” letter on rebar. What is meaning of “T” ? Why the producer input “T” letter […]
เมื่อภัยพิบัติแผ่นดินไหวเกิดขึ้นมักจะสร้างความเสียหายให้กับอาคารบ้านเรือนและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ปัจจุบันมีการคิดค้นแนวทางหรือวิธีการทางวิศวกรรมการออกแบบสิ่งก่อสร้างให้สามารถรองรับผลกระทบจากแผ่นดินไหว หรือการออกแบบให้มีรูปแบบการวิบัติอย่างปลอดภัยต่อผู้อยู่อาศัย ทั้งการปรับเปลี่ยนรูปแบบโครงสร้างใหม่ ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดวางวัสดุหรือการปรับเปลี่ยนคุณสมบัติวัสดุให้สอดรับกับพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหว ในประเทศไทยถือว่ามีความเสี่ยงจากภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวอยู่บ้างพอสมควรโดยเฉพาะภาคตะวันตกและภาคเหนือ โดยมักจะได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวจากนอกประเทศเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันหลายๆหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างมีมาตรการในการรับมือกับภัยพิบัตินี้มากขึ้น กฎข้อบังคับการออกแบบโครงสร้างกับแผ่นดินไหวในไทยในประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องในหัวข้อดังกล่าว ดังเช่น กฎกระทรวงฉบับ พ.ศ. 2550 โดยกล่าวถึงการพิจารณาโครงสร้างประเภท อาคารหรือสิ่งก่อสร้างสาธารณะ โดยต้องออกแบบตามมาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวของกรมโยธาธิการและผังเมือง หรือมาตรฐานอื่นๆที่สภาวิศวกรรับรอง พื้นที่บังคับใช้กฎกระทรวง 2 พื้นที่คือ […]
สำหรับเหล็กเส้นข้ออ้อยเสริมคอนกรีต โดยที่ผ่านมายังคงมีข้อสงสัยเรื่องตัว T ว่ามันคืออะไร โดยอ้างอิงบทความ โดย รศ.อเนก ศิริพานิชกร ตำแหน่งกรรมการจรรยาบรรณ และอนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพสภาวิศวกร ,ประทานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต(กว.9) สมอ.และ ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา วสท. ได้ชี้แจ้งในสารสภาวิศวกร ฉบับที่ 3/2559 ประจำเดือนกรกฎาคน – กันยายน […]
อยากได้เหล็กคุณภาพดี มีเกณฑ์ในการเลือกอย่างไร เหล็กเป็นวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้างร่วมกับคอนกรีตอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน โดยเหล็กเส้นก่อสร้างเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่มีผู้นิยมใช้มากมาย เนื่องมาจากคุณสมบัติของคอนกรีตที่สามารถรับแรงกดอัดได้สูงแต่อ่อนแอต่อการรับแรงดึง ในขณะที่เหล็กนั้นมีคุณสมบัติในการรับแรงดัดและแรงดึงได้ดี ดังนั้นการนำเหล็กมาใช้งานร่วมกับคอนกรีตในงานก่อสร้าง จึงทำให้โครงสร้างมีความแข็งแรงมากขึ้น จากการที่วัสดุทั้งสองช่วยกันรับและถ่ายแรงซึ่งกันและกันโดยเหล็กจะทำหน้าที่ในการรับแรงดึงที่กระทำกับโครงสร้าง ส่วนคอนกรีตจะทำหน้าที่ในการรับแรงกดอัดที่กระทำกับโครงสร้าง เกิดเป็นโครงสร้างที่เรียกว่าคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งสามารถรับแรงต่างๆที่กระทำกับโครงสร้างได้ดียิ่งขึ้น เหมาะสำหรับงานก่อสร้างมากขึ้นทำให้โครงสร้างมีความเสถียรและมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น โดยทั่วไปวิศวกรจะทำการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยกำหนดชนิด ปริมาณและตำแหน่งของเหล็กเสริม ซึ่งผู้ทำการก่อสร้างจะต้องทำตามแบบและข้อกำหนดต่างๆที่วิศวกรผู้ออกแบบได้กำหนดมาการเปลี่ยนแปลงใดๆที่ไม่ได้รับความเห็นชอบจากวิศวกรผู้ออกแบบ จะทำให้โครงสร้างนั้นขาดความแข็งแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ แต่ในการออกแบบของวิศวกรผู้ออกแบบนั้น จะใช้สมมติฐานว่าเหล็กเส้นก่อสร้างที่นำมาใช้ […]